💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜
วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2562
การเรียนการสอนวันนี้เป็นคาบสุดท้ายของเทอมนี้ อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องบล็อกว่าควรจะใส่อะไรลงไปเพื่อทำให้น่าสนใจและได้พูดคุยเกี่ยวกับสรุปกรอบมาตรฐานความรู้คณิตศาสตร์ที่อาจารย์ได้ให้ทำในสัปดาห์ที่แล้วว่ากรอบความรู้ทที่ถูกต้องเป็นอย่างไรและสิ่งที่ถูกคืออะไรเพื่อให้เราเข้าใจและนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในอนาคตและการสอบ
📌 สัญลักษณ์พื้นฐานที่ใช้เขียนแสดงจำนวน เรียกว่า เลขโดด ในระบบฐานสิบมี 10 ตัว ดังนี้
ตัวเลขฮินดูอารบิก ได้แก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตัวเลขไทย ได้แก่ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙
อ่านว่า หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สิบ ตามลำดับ
📌 การบอกอันดับที่ของสิ่งต่างๆ จะด้องกำหนดสิ่งเริ่มต้นก่อน แล้วจึงจัดอันดับ
📌 การรวมตัวเป็นการนับรวมจำนวนต่างๆ สองกลุ่ม ได้ผลรวมมากขึ้น
📌 การวัดความยาวของสิ่งต่างๆเป็นการหาความยาวตามแนวนอน การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง
สาระที่ควรเรียนรู้
1. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
เด็กควรรู้จักชื่อ นามสลุก รูปร่างหน้าตนของตนเอง รู้จักอวัยวะต่างๆ และวิธ๊ระวังรักษาร่างกายให้สะอาดปลอดภัยมีสุขอนามัยที่ดี เรียนรู้ที่จะเล่นและ ทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองคนเดียวหรือผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และ มารทายที่ดี
2. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อม
เด็กควรได้มีโอกาสรู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้อง หรือมีโอกาสใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน
3. ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรจะได้รู้จักสิ่งมีชีวิตที่เป็นต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
4. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
เด็กควรจะได้รู้จักสิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะและการสื่อสารต่างๆที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันของเด็ก
สาระที่ควรเรียนรู้
1. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
เด็กควรรู้จักชื่อ นามสลุก รูปร่างหน้าตนของตนเอง รู้จักอวัยวะต่างๆ และวิธ๊ระวังรักษาร่างกายให้สะอาดปลอดภัยมีสุขอนามัยที่ดี เรียนรู้ที่จะเล่นและ ทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองคนเดียวหรือผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และ มารทายที่ดี
2. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อม
เด็กควรได้มีโอกาสรู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้อง หรือมีโอกาสใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน
3. ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรจะได้รู้จักสิ่งมีชีวิตที่เป็นต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน
4. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
เด็กควรจะได้รู้จักสิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะและการสื่อสารต่างๆที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันของเด็ก
จากนั้นอาจารย์ได้สอนให้เราทำมายแมพเพื่อจะได้เรียงลำดับและขั้นตอนได้ถูกต้อง
อาจารย์ได้ยกตัวอย่างเรื่อง " ไข่ "
หัวข้อใหญ่ = ไข่
หัวข้อรอง = 1. ชื่อ
2. ลักษณะ
3. การดำรงชีวิต
4. ประโยชน์
ต่อมาอาจารย์ได้แจกกระดาษให้คนลละหนึ่งแผ่นเพื่อให้เราได้ลองทำ อาจารย์ได้กำหนดหัวข้อมาให้คือเรื่อง " นก "
ช่วงท้ายอาจารย์ได้มอบหมายงานชิ้นสุดท้ายคือให้เราออกแบบแผ่นพับให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องในสัปดาห์นั้นๆ พร้อมวิธีขอความช่วยเหลือในกิจกรรมจากผู้ปกครอง
💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜
ปิดคอร์สแล้วจ้าาาาา
ความรู้สึกที่ได้เรียนวิชานี้คือคิดว่าเป็นวิชาที่่ยากเพราะไม่รู้เราจะสอนเด็กเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ได้ยังไงเพราะตัวเราเองยังยากเลยแต่พอได้ลองมาเรียนมันก็ยากจริงๆ
รายละเอียดเยอะมากแต่มันก็ไม่ยากเกินความพยายามของเรา
จะนำความรู้ที่ได้จากวิชานี้กลับไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อเด็กให้มากที่สุด
และที่ขาดไม่ได้คืออาจารย์ ขอขอบคุณอาจารย์มากๆนะคะ
ที่อดทนและตั้งใจสอนพวกเรา ถึงแม้พวกจะดื้อจะขี้เกียจไปบ้างแต่อาจารย์ก็ไม่เคยท้อ
ที่จะสอนและพยายามหาสิ่งที่ดีและประสบการณ์ดีๆมาให้พวกเราเสมอ ขอบคุณค่ะ 💗💗
💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜
ประเมินอาจารย์ :: ตั้งใจมากๆในการหาสิ่งที่มีประโยช์นมาให้นักศึกษาหาประสบการณ์ดีๆมาให้นักศึกษาตลอด ถ่ายทอดความรู้เยอะมากตั้งแต่คาบแรกจนถึงคาบเรียนสุดท้าย
ประเมินเพื่อน :: ตั้งใจเรียน อาจจะมีหลุดไปบ้าง ไม่ค่อยฟังไปบ้างแต่ทุกคนก็ทำงานและนำความรู้ที่อาจารย์ให้ไปใช้จนงานออกมาดีทุกคน
ประเมินตนเอง :: ได้ความรู้เยอะสำหรับวิชานี้จะนำความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜💜
🌺คำศัพท์🌺
Sequence of steps = ลำดับขั้นตอน
Knowledge = สาระความรู้
Symbol = สัญลลักษณ์Living = การดำรงชีวิต
Benefit = ประโยชน์